1. เพื่อพัฒนาความพร้อมในเรื่องการแยกเสียงต่างๆได้
( (สำหรับผู้เริ่มเรียน
2. ให้มีมารยาทในการฟัง
จำเป็นต้องฝึกควบคู่ไปกับการเรียนทักษะอื่น
และไม่จำเป็นต้องฝึกเฉพาะแต่ในเวลาสอนภาษาเท่านั้น
ถ้านำไปฝึกและปฏิบัติในการเรียนการสอนในกลุ่มวิชาอื่นด้วยจะได้ผลดีมาก
3. เพื่อให้สามารถจับใจความสำคัญของเรื่องที่ฟังได้
4. เพื่อการนำความรู้จากสิ่งที่ฟังมาประยุกต์ใช้งานได้
5. เพื่อสร้างนิสัยที่ดีในการฟัง
และฝึกการแสวงหาความรู้จากการฟัง
6. เพื่อการพัฒนาการทางด้านการใช้ภาษา
โดยเน้นการฟังเพื่อนำไปปรับปรุง วิธีการออกเสียง วิธีการพูดได้ ถูกต้องชัดเจน
7. เพื่อให้สามารถสรุปจากเรื่องราวในการฟัง
แล้วเล่าเรื่องที่ฟังกันได้ถูกต้องหรือจดบันทึกไว้
8. เพื่อให้สามารถตอบคำถามจากเรื่องราวที่ฟังได้
9. เพื่อให้สามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังได้ดีโดยสามารถแสดงความคิดเห็นสนับสนุนหรือขัดแย้งได้อย่างสุขภาพ
10. เพื่อให้สามารถวินิจฉัยเรื่องที่ฟัง
จนทราบเจตนาของผู้พูดได้
11. เพื่อพัฒนาทักษะในการฟัง
โดยคำนึงถึงวัตถุประสงค์ที่ต้องการจะเน้นในกานสอนแต่ล่ะครั้ง
ข้อมูลมาจาก
รค.ทัศนีย์ ศุภเมธี กศ.บ (เอกภาษาไทย สาขาการประถมศึกษา)
ผู้จัดพิมพ์.สถาบันราชภัฏธนบุรี พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2542
ข้อมูลมาจาก
รค.ทัศนีย์ ศุภเมธี กศ.บ (เอกภาษาไทย สาขาการประถมศึกษา)
ผู้จัดพิมพ์.สถาบันราชภัฏธนบุรี พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2542
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น